หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมมาภิบาล ประกอบด้วย ๖ หลัก คือ
๑.หลักนิติธรรม
๒.หลุกคุณธรรม
๓.หลักความโปร่งใส
๔.หลักการมีส่วนร่วม ๕.หลักสำนึกรับผิดชอบ
๖.หลักความคุ้มค่า
๑.หลักนิติธรรม
๒.หลุกคุณธรรม
๓.หลักความโปร่งใส
๔.หลักการมีส่วนร่วม ๕.หลักสำนึกรับผิดชอบ
๖.หลักความคุ้มค่า
หลักนิติธรรมหรือหลักนิติรัฐ เป็นหลักที่มีความมุ่งหมายที่จะคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการใช้อำนาจรัฐ
๑.การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
๒.การแบ่งแยกอำนาจ
๓.ความอิสระของผู้พิพากษา
๔.หลักความผูกพันต่อกฎหมาย
๕.หลักไม่มีความผิดไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย
๖.ความเป็นกฎหมายสูงสุดของ รธน.
๗.ความชอบธรรมด้วยกฎหมายของเนื้อหา
๑.การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
๒.การแบ่งแยกอำนาจ
๓.ความอิสระของผู้พิพากษา
๔.หลักความผูกพันต่อกฎหมาย
๕.หลักไม่มีความผิดไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย
๖.ความเป็นกฎหมายสูงสุดของ รธน.
๗.ความชอบธรรมด้วยกฎหมายของเนื้อหา
หลักคุณธรรม
๑.ปลอดจากการทำผิดวินัย
๒.ปลอดจากการทำผิดกฎหมาย
๓.ปลอดจากการทำผิดมาตรฐานวิชาชีพนิยมจรรยาวิชาชีพ
๑.ปลอดจากการทำผิดวินัย
๒.ปลอดจากการทำผิดกฎหมาย
๓.ปลอดจากการทำผิดมาตรฐานวิชาชีพนิยมจรรยาวิชาชีพ
หลักความโปร่งใส
๑.ความโปร่งใสด้านโครงสร้างของระบบงาน
๒.ความโปร่งใสด้านระบบการให้คุณ
๓.ความโปร่งใสของระบบการให้โทษ
๔.ความโปร่งใสด้านการเปิดเผยการมีส่วนร่วม
๑.ความโปร่งใสด้านโครงสร้างของระบบงาน
๒.ความโปร่งใสด้านระบบการให้คุณ
๓.ความโปร่งใสของระบบการให้โทษ
๔.ความโปร่งใสด้านการเปิดเผยการมีส่วนร่วม
หลักการมีส่วนร่วม
๑.ระดับการให้ข้อมูล
๒.ระดับการเปิดรับความคิดเห็น
๓.ระดับการปรึกษาหารือ
๔.ระดับการวางแผนร่วมกัน
๕.ระดับการร่วมปฏิบัติ
๖.ระดับการควบคุม
๑.ระดับการให้ข้อมูล
๒.ระดับการเปิดรับความคิดเห็น
๓.ระดับการปรึกษาหารือ
๔.ระดับการวางแผนร่วมกัน
๕.ระดับการร่วมปฏิบัติ
๖.ระดับการควบคุม
หลักสำนึกรับผิดชอบ
๑.การมีวัตถุประสงค์ชัดเจน
๒.การที่บุคลากรในองค์กรมีความรู้สึกร่วมกันว่าพวกตนเป็นเจ้าของ
๓.มีวิธีการทำงานหรือกลไกภายในองค์กร
๔.การจัดการกับผู้ที่ไม่มีผลงาน
๕.การวางแผนสำรอง
๖.การมีระบบติดตามประเมินผล
หลักความคุ้มค่า
๑.การประหยัด
๒.การแข่งขัน
๓.การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
หลักความคุ้มค่า
๑.การประหยัด
๒.การแข่งขัน
๓.การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด